เพราะคอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันมีการใช้คอมพิวเตอร์โดยมิชอบส่งผลเสียต่อบุคคลอื่น มีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นเท็จหรือลามกอนาจารจึงต้องมีมาตรการควบคุม
ความผิดที่เข้าข่ายความผิดตามพ.ร.บ. ฉบับนี้
- การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
- การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
- การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ
- การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ
- การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
- การทำให้เสียหายทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม
ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ - การกระทำเพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
- การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่นโดยปกติสุข
- การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด
- การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น ผู้ให้บริการจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิด
- การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคล
ผู้ให้บริการที่ระบุใน พ.ร.บ. นี้ คือบุคคลใด
-ผู้ให้บริการเช่าระบบคอมพิวเตอร์ หรือให้เช่าบริการโปรแกรมประยุกต์(Host Service Provider)
- ผู้ให้บริการข้อมูลคอมพิวเตอร์ผ่านapplication ต่างๆ ที่เรียกว่า content provider เช่นผู้ให้บริการweb board หรือ web service เป็นต้น
ข้อมูลของผู้ใช้บริการ
ผู้ให้บริการทั้งที่เสียค่าบริการหรือไม่ก็ตาม ต้องเก็บข้อมูลเท่าที่
จำเป็น เพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการได้ไม่ว่าจะเป็นชื่อนามสกุล เลขประจำตัวประชาชUSERNAMEหรือ PIN CODE ไว้ ไม่น้อยกว่า
90 วัน นับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง
90 วัน นับตั้งแต่การใช้บริการสิ้นสุดลง
หากผู้ให้บริการไม่ได้เก็บข้อมูลผู้ใช้บริการไว้ถือว่าทำผิดและอาจถูกปรับสูงถึง 500,000 บาท
ต่อไปไม่ว่าจะไปใช้งานอินเทอร์เน็ตที่ตรงจุดใดจะต้องมีการแจ้งลงทะเบียนโดยต้องใส่ username และ password เพื่อให้ผู้ดูแลระบบเครือข่ายสามารถเก็บบันทึกการเข้ามาใช้งานของได้รวมถึงเว็บบอร์ดทั้งหลาย ซึ่งมีผู้มาโพสเป็นจำนวนร้อย -พัน รายต่อวัน เว็บมาสเตอร์ และผู้ดูแลโฮสติ้ง หรือผู้ทำอาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อาจเสี่ยงต่อการระมัดระวังข้อความเหล่านั้น
พระราชบัญญัตินี้ จะมีผลกระทบกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตโดยทั่วไปเพราะหากท่าทำให้เกิดการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ (ไม่ว่าจะบังเอิญหรือตั้งใจ) ก็อาจจะมีผลกับท่าน และที่สำคัญ คือผู้ให้บริการ ซึ่งรวมไปถึงหน่วยงานต่างๆที่เปิดบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้อื่นหรือกลุ่มพนักงาน นิสิต นักศึกษาในองค์กรผู้รับผิดชอบมีหน้าที่ดูแลอย่างรอบคอบในฐานะ "ผู้ให้บริการ" การเข้ารหัสลับข้อมูล
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
ในฐานะบุคคลธรรมดาไม่ควรกระทำในสิ่งต่อไปนี้
เพราะอาจจะทำให้ “เกิดการกระทำความผิด"ตาม พรบ.นี้
1. ไม่ควรบอก password แก่ผู้อื่น
2. อย่าให้ผู้อื่นยืมใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อเข้าเน็ต
3.อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สาย ในบ้านหรือที่ทำงาน โดยไม่ใช้มาตรการ การตรวจสอบผู้ใช้งาน และการเข้ารหัสลับ
4 อย่าเข้าสู่ระบบด้วยuser ID และ password ที่ไม่ใช่ของท่านเอง
2. อย่าให้ผู้อื่นยืมใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อเข้าเน็ต
3.อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สาย ในบ้านหรือที่ทำงาน โดยไม่ใช้มาตรการ การตรวจสอบผู้ใช้งาน และการเข้ารหัสลับ
4 อย่าเข้าสู่ระบบด้วยuser ID และ password ที่ไม่ใช่ของท่านเอง
5. อย่านำ user ID และ password ของผู้อื่นไปใช้งานหรือเผแพร่
6. อย่าส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความหรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย
7. อย่า กด "remember me" หรือ "remember password" ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ และอย่า log-in เพื่อทำธุรกรรม ทางการเงินที่เครื่องสาธารณะ
8. อย่าใช้ WiFi (Wireless LAN) ที่เปิดให้ใช้ฟรี โดยปราศจาก
6. อย่าส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความหรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย
7. อย่า กด "remember me" หรือ "remember password" ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ และอย่า log-in เพื่อทำธุรกรรม ทางการเงินที่เครื่องสาธารณะ
8. อย่าใช้ WiFi (Wireless LAN) ที่เปิดให้ใช้ฟรี โดยปราศจาก
ความผิดทางอาญาตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
1. เจ้าของไม่ให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไปจำคุก 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.ไปรู้วิธีการเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น แล้วไปยังไปบอกให้คนอื่นรู้ ต่อ จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.แอบไปเจาะข้อมูลของผู้อื่นที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4. แอบไปดักจับข้อมูลผู้อื่นระหว่างการสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5. ไปแก้ไขข้อมูลของในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน100,000บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
6. ส่ง packet หรือ message หรือ virus หรือ trojan หรือ worm หรืออะไรก็ตามเข้าไปก่อกวนจนระบบผู้อื่น จำคุกไม่เกิน 5 ปีหรือปรับไม่เกิน 100,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
7. ส่งข้อมูลหรืออีเมล์ ให้ผู้อื่นซ้ำๆ โดยผู้รับไม่ได้ร้องขอ
ปรับไม่เกิน100,000บาท
8. ความผิดผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6.ทำให้บุคคลทั่วไปเกิดความเสียหายจำคุกไม่เกิน 10 ปีและปรับไม่เกิน 200,000บาทหากก่อความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ เศรษฐกิจ และสังคม จำคุกตั้งแต่ 3 - 5 ปี และปรับตั้งแต่ 60,000 -300,000บาท และถ้าทำให้ใครตายก็จะเพิ่มโทษเป็น ..จำคุกตั้งแต่ 10ถึง20ปี
9. ถ้าเป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์เพื่อทำให้ทำความผิดในหลายข้อข้างต้นจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน
20,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
20,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
10. สร้างภาพโป๊ เรื่องเท็จ ทำการปลอมแปลง กระทำการใดที่กระทบความมั่นคง ก่อการร้าย และส่งต่อข้อมูลทั้งๆที่รู้ว่าผิด
ตามที่กล่าวมาข้างต้น … จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
11. เจ้าของเว็บ สนับสนุน / ยินยอมให้เกิดข้อ 10.
จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
12. เอารูปผู้อื่นมาตัดต่อแล้วเอาไปเผยแพร่ในระบบคอมพิวเตอร์จำคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น